1 00:00:11,760 --> 00:00:15,000 เราจำเป็นต้องตรวจสอบข้อมูล ยุคก่อนประวัติศาสตร์ของเกาะอีสเตอร์ใหม่ 2 00:00:18,200 --> 00:00:20,760 เราไม่ควรยอมรับข้อมูลที่เคยได้ยินมา 3 00:00:24,480 --> 00:00:28,800 {\an8}ชาวราปานูอีและนักโบราณคดี ดร.โซเนีย ฮาว คาร์ดินาลี 4 00:00:28,880 --> 00:00:32,960 {\an8}ใช้เวลาเกือบห้าทศวรรษ ค้นหาประวัติศาสตร์ที่สูญหายไปของเกาะ 5 00:00:35,080 --> 00:00:38,880 ไม่ใช่ด้วยการศึกษาโมอาย หรือการตั้งถิ่นฐานสมัยโบราณ 6 00:00:38,960 --> 00:00:42,000 แต่เป็นการตรวจสอบ ผ่านพืชพรรณบนเกาะอย่างละเอียด 7 00:00:42,960 --> 00:00:47,320 โซเนียครับ ผมเข้าใจว่า คุณสนใจเรื่องพฤกษศาสตร์เป็นพิเศษ 8 00:00:47,400 --> 00:00:48,920 แต่คุณก็เป็นนักโบราณคดีด้วย 9 00:00:49,000 --> 00:00:52,120 ค่ะ สิ่งสำคัญที่สุดสำหรับฉัน 10 00:00:52,200 --> 00:00:55,560 คือการทำความเข้าใจผู้คน 11 00:00:56,360 --> 00:00:58,840 ทำความเข้าใจว่าผู้คนมาถึงที่นี่ได้ยังไง 12 00:00:58,920 --> 00:01:02,800 ทำความเข้าใจว่าผู้คนปรับตัวเข้ากับเกาะนี้ยังไง 13 00:01:03,400 --> 00:01:08,680 เพราะในฐานะมนุษย์ เราทำอะไรไม่ได้ถ้าไม่มีพืชต่างๆ 14 00:01:12,040 --> 00:01:15,440 ในแอ่งภูเขาไฟแห่งหนึ่ง ที่ดับไปแล้วของเกาะราปานูอี 15 00:01:15,520 --> 00:01:18,040 ดร.คาร์ดินาลีและเพื่อนร่วมงานได้ค้นหา 16 00:01:18,120 --> 00:01:21,040 หลักฐานแรกสุดของพืชหรือพืชผล ที่ไม่ได้เป็นพืชพื้นเมือง 17 00:01:21,880 --> 00:01:24,400 ที่ต้องถูกมนุษย์นำเข้ามา 18 00:01:25,960 --> 00:01:29,040 พืชบอกอะไรบ้างครับเกี่ยวกับช่วงเวลา ที่มีผู้คนมาอาศัยอยู่บนเกาะนี้ 19 00:01:29,120 --> 00:01:34,400 ในการศึกษาอาหารต่างๆ ที่เราทำ ผลการวิจัยพบว่า… 20 00:01:34,480 --> 00:01:35,720 ครับ 21 00:01:36,360 --> 00:01:37,200 มันมีกล้วยค่ะ 22 00:01:39,360 --> 00:01:43,760 มีการพบกล้วยบนเกาะนี้เมื่อ 3,000 ปีก่อน 23 00:01:43,840 --> 00:01:48,520 กล้วยมีอยู่บนเกาะราปานูอี อย่างน้อยก็ 3,000 ปีเหรอครับ 24 00:01:48,600 --> 00:01:49,600 ค่ะ 25 00:01:52,640 --> 00:01:54,960 และพวกมันก็ไม่ได้มาที่นี่เองด้วย 26 00:01:56,440 --> 00:01:59,120 พวกนกไม่ได้เอามันมา 27 00:01:59,200 --> 00:02:01,320 ทะเลไม่ได้พัดมันมาด้วย 28 00:02:01,400 --> 00:02:05,920 ต้องเป็นมนุษย์กลุ่มอื่นที่เอากล้วยมาปลูกที่นี่ 29 00:02:07,440 --> 00:02:10,400 นั่นคือเหตุผลที่บอกให้รู้ว่า 30 00:02:10,480 --> 00:02:16,240 มีผู้คนเข้ามาอยู่อาศัยที่ราปานูอีหลายช่วงเวลา 31 00:02:16,320 --> 00:02:17,160 ครับ 32 00:02:17,240 --> 00:02:21,600 และนี่ก็เป็นข้อมูลที่ทำให้ทุกคนประหลาดใจ มันเปลี่ยนประวัติศาสตร์ไปนิดนึงเลย 33 00:02:21,680 --> 00:02:23,880 มันเปลี่ยนประวัติศาสตร์เยอะเลยต่างหาก 34 00:02:23,960 --> 00:02:25,720 ดินไม่โกหกค่ะ 35 00:02:26,320 --> 00:02:27,800 ครับ ดินบอกความจริง 36 00:02:27,880 --> 00:02:33,240 เราไม่เคยคิดว่ากล้วยจะมีความสำคัญขนาดนี้ 37 00:02:36,840 --> 00:02:41,840 ดร.คาร์ดินาลีระบุช่วงเวลา จากเศษต้นกล้วยขนาดเล็กที่พบในดิน 38 00:02:42,600 --> 00:02:48,640 ทำให้เส้นเวลาเรื่องการมีผู้คนมายังราปานูอี ย้อนกลับไปก่อนหน้านั้นอีกราว 2,000 ปี 39 00:02:48,720 --> 00:02:51,920 (ราว 3,215 ปีก่อน) 40 00:02:52,720 --> 00:02:55,720 พืชพวกนี้ช่วยให้เราย้อนเส้นเวลาถอยกลับไป 41 00:02:55,800 --> 00:02:59,400 - ค่ะ - และเป็นไปได้ว่ามันอาจเก่าแก่กว่า 3,000 ปี 42 00:02:59,480 --> 00:03:04,760 เราไม่รู้ค่ะ แต่นั่นแหละเหตุผล ที่เราควรศึกษาเรื่องนี้ต่อไป 43 00:03:04,840 --> 00:03:05,800 แน่นอนครับ 44 00:03:08,200 --> 00:03:10,160 จากหลักฐานใหม่นี้ 45 00:03:10,240 --> 00:03:13,320 ยุคก่อนประวัติศาสตร์ของราปานูอี ต้องถูกทบทวนใหม่ 46 00:03:14,560 --> 00:03:19,360 ผลการตรวจสอบของดร.คาร์ดินาลีบ่งชี้ว่า ผู้ตั้งถิ่นฐานชาวพอลินีเซียมาถึงเกาะนี้ 47 00:03:19,440 --> 00:03:21,560 นานก่อนเส้นเวลาที่เรารับรู้กัน 48 00:03:22,440 --> 00:03:26,720 แต่ถ้าอิงจากตำนานของราปานูอี ยังมีความเป็นไปได้อีกอย่าง 49 00:03:28,440 --> 00:03:32,600 ไม่แน่ฮูตู มาตูอา และผู้สำรวจเจ็ดคนของเขาอาจมาถึงที่นี่ 50 00:03:32,680 --> 00:03:36,520 มาถึงที่นี่เมื่อหลายพันปีก่อน อย่างที่ไม่มีใครเคยคาดคิด 51 00:03:39,960 --> 00:03:43,760 เป็นไปได้ไหมว่ามีเรื่องราวส่วนหนึ่งของเกาะนี้ ถูกลืมเลือนไป 52 00:03:44,240 --> 00:03:48,560 เป็นเรื่องราวบทแรกๆ ที่เขียนโดยผู้รอดชีวิต จากหายนะที่เกิดขึ้นทั่วโลก 53 00:03:48,640 --> 00:03:51,160 ที่เกิดขึ้นเมื่อราว 12,000 ปีก่อน 54 00:04:05,040 --> 00:04:09,160 {\an8}(หายนะอารยะธรรมโบราณ อเมริกา) 55 00:04:09,240 --> 00:04:11,840 {\an8}(ตอนที่สาม) 56 00:04:14,760 --> 00:04:18,480 ถ้ามนุษย์มาถึงราปานูอีเมื่อหลายพันปีก่อน 57 00:04:19,080 --> 00:04:20,320 พวกเขาอาศัยอยู่ที่ไหน 58 00:04:21,720 --> 00:04:25,240 ร่องรอยทางโบราณคดี ที่เราคาดว่าจะเจออยู่ที่ไหน 59 00:04:27,400 --> 00:04:29,960 โปรดจำไว้ว่าช่วงที่รุนแรงที่สุด ของยุคน้ำแข็งครั้งสุดท้าย 60 00:04:30,040 --> 00:04:33,600 ระดับน้ำทะเลต่ำกว่าปัจจุบันกว่า 121 เมตร 61 00:04:34,200 --> 00:04:36,640 ราปานูอีจึงน่าจะเคยเป็นเกาะที่ใหญ่กว่าเยอะ 62 00:04:38,800 --> 00:04:42,480 พื้นที่ทั้งหมดนั้นก็น่าจะรองรับ ประชากรที่มีจำนวนมากขึ้นได้ 63 00:04:45,040 --> 00:04:46,480 ซึ่งอาจช่วยอธิบายว่า 64 00:04:46,560 --> 00:04:49,760 ทำไมโครงการแกะสลัก โมอายขนาดใหญ่จึงเป็นไปได้ 65 00:04:52,560 --> 00:04:56,280 ไม่แน่ผู้สร้างโมอายเหล่านั้น อาจเลือกอาศัยอยู่ใกล้ชายฝั่งโบราณ 66 00:04:56,360 --> 00:04:57,800 ที่ตอนนี้จมอยู่ใต้น้ำ 67 00:05:00,400 --> 00:05:02,640 และใช้พื้นที่สูงที่เราเห็นในวันนี้ 68 00:05:02,720 --> 00:05:05,200 เพื่อโครงการสร้างรูปปั้น อันยิ่งใหญ่ของพวกเขาเท่านั้น 69 00:05:06,800 --> 00:05:11,840 ไม่บ่อยนักที่ผู้คนจะตระหนักถึงปริมาณที่ดิน ที่สูญหายไปเพราะระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้น 70 00:05:11,920 --> 00:05:13,120 ตอนช่วงปลายยุคน้ำแข็ง 71 00:05:13,200 --> 00:05:16,880 คิดคร่าวๆ คือเกือบ 26 ล้านตารางกิโลเมตร 72 00:05:17,680 --> 00:05:20,000 ซึ่งเป็นพื้นที่ที่กว้างมากในสมัยนั้น 73 00:05:20,680 --> 00:05:22,640 และเมื่อระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้นฉับพลัน 74 00:05:22,720 --> 00:05:26,160 และชายฝั่งเหล่านั้นจมอยู่ใต้ทะเล 75 00:05:27,360 --> 00:05:31,840 ทุกสิ่งที่คนสร้างไว้บนพื้นที่ที่จมน้ำ ก็ถูกคลื่นซัดทำลาย 76 00:05:33,160 --> 00:05:36,480 ไม่มีใครรู้ว่ามีอะไรสูญหายไปบ้าง จากระดับน้ำทะเลที่เพิ่มขึ้น 77 00:05:45,800 --> 00:05:49,840 สิ่งที่เรารู้คือผู้คนกลุ่มแรกที่อาศัยอยู่ที่นี่ 78 00:05:49,920 --> 00:05:53,400 มีมากกว่าทักษะแกะสลักหินอันน่าทึ่ง 79 00:05:58,000 --> 00:06:02,320 ตำนานของราปานูอีเล่าว่ากษัตริย์ฮูตู มาตูอา ผู้ก่อตั้งที่ยิ่งใหญ่ของพวกเขา 80 00:06:02,920 --> 00:06:05,960 นำสิ่งพิเศษติดตัวมาจากฮิวา ดินแดนอันห่างไกล 81 00:06:07,120 --> 00:06:08,280 มันคือภาษาเขียน 82 00:06:11,520 --> 00:06:16,000 ส่วนที่เหลืออยู่ถูกเก็บรักษาไว้ บนแผ่นไม้ที่เรียกว่าโรโงโรโง 83 00:06:17,000 --> 00:06:20,320 ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสำเนาที่ทำซ้ำกันมาตามยุคต่างๆ 84 00:06:20,400 --> 00:06:22,880 เพราะต้นฉบับสูญหายไปในประวัติศาสตร์ 85 00:06:23,840 --> 00:06:26,280 ปัจจุบันนี้เหลือโรโงโรโงไม่ถึง 30 ชิ้น 86 00:06:27,000 --> 00:06:29,800 ตอนนี้ถูกเก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์ทั่วโลก 87 00:06:31,280 --> 00:06:32,680 สำหรับชาวราปานูอี 88 00:06:32,760 --> 00:06:35,720 อย่างเลโอ ปาการาตี นักสารคดีชนพื้นเมือง 89 00:06:36,240 --> 00:06:39,120 แผ่นไม้พวกนี้มีความสำคัญเป็นพิเศษ ในประวัติศาสตร์ 90 00:06:40,080 --> 00:06:41,440 มันเป็นความสำเร็จที่น่าทึ่ง 91 00:06:41,520 --> 00:06:43,840 เพราะปกติแล้วระบบการเขียนจะเกี่ยวข้อง 92 00:06:43,920 --> 00:06:46,600 กับวัฒนธรรมที่ใหญ่และมีการจัดระเบียบสูง 93 00:06:46,680 --> 00:06:49,040 {\an8}แต่เรากลับพบมันบนเกาะเล็กๆ 94 00:06:49,560 --> 00:06:53,320 โรโงโรโงน่าสนใจ และสำคัญมากในวัฒนธรรมของเรา 95 00:06:53,400 --> 00:06:55,640 และผมคิดว่ามันเป็นระบบเขียน เฉพาะในพอลินีเซีย 96 00:06:55,720 --> 00:06:58,640 ครับ มันเป็นระบบเขียนเฉพาะ ไม่มีโรโงโรโงบนเกาะอื่น 97 00:07:00,320 --> 00:07:03,400 ทั้งการโจมตีของพวกค้าทาสในศตวรรษที่ 19 98 00:07:03,480 --> 00:07:07,280 และการที่ประเพณีทางปัญญา ของเกาะอีสเตอร์ถูกทำลายสิ้น 99 00:07:07,360 --> 00:07:10,640 ความสามารถในการอ่านโรโงโรโงจึงสูญหายไป 100 00:07:10,720 --> 00:07:15,200 พวกมันเลยยังคงเป็นหนึ่งในปริศนา ที่ยิ่งใหญ่ของโลกโบราณ 101 00:07:16,160 --> 00:07:19,560 นักภาษาศาสตร์ชี้ว่าระบบการเขียนโรโงโรโง มีสัญลักษณ์ที่แตกต่างกัน 102 00:07:19,640 --> 00:07:22,160 มากเกินกว่าจะทำให้มันเป็นตัวอักษร 103 00:07:24,040 --> 00:07:27,360 น่าจะเป็นไฮโรกลิฟหรือการเขียนภาพสัญลักษณ์ 104 00:07:27,440 --> 00:07:30,520 คล้ายกับที่พัฒนาโดยชาวอียิปต์โบราณ 105 00:07:30,600 --> 00:07:32,680 และอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมากกว่า 106 00:07:34,000 --> 00:07:38,200 เป็นระบบการเขียนที่ต้องใช้เวลาพัฒนา หลายร้อยหรือหลายพันปี 107 00:07:40,000 --> 00:07:42,320 ระบบโรโงโรโงซับซ้อนมาก 108 00:07:42,840 --> 00:07:47,720 คุณต้องมีองค์ประกอบหลายอย่าง เช่นสันติภาพ น้ำ อาหาร สังคม 109 00:07:48,560 --> 00:07:51,840 นี่เป็นกระบวนการที่มีความซับซ้อนทางปัญญามากๆ 110 00:07:52,520 --> 00:07:55,400 เป็นเวลาหลายศตวรรษ จนกระทั่งชาวยุโรปเดินทางมาถึง 111 00:07:56,000 --> 00:07:58,640 ภาษาเขียนถูกรักษาไว้ในรูปแบบของเพลง 112 00:07:59,240 --> 00:08:03,720 แต่ความเชื่อมโยงระหว่างเสียงอ่าน และสัญลักษณ์ถูกลืมเลือนไปนานแล้ว 113 00:08:04,240 --> 00:08:06,760 ผู้คนไม่ได้หัดอ่านมัน 114 00:08:06,840 --> 00:08:08,920 พวกเขาหัดร้องเพลงอย่างเดียว 115 00:08:09,000 --> 00:08:11,160 แล้วพอเวลาผ่านไปนานเข้า มันก็เหลือแค่เพลง 116 00:08:11,240 --> 00:08:13,800 แล้วเพลงพวกนี้พูดถึงอะไรครับ 117 00:08:14,280 --> 00:08:15,720 ระบบการเกษตร 118 00:08:15,800 --> 00:08:16,880 ครับ 119 00:08:16,960 --> 00:08:18,520 กฎการเดินเรือ 120 00:08:19,560 --> 00:08:22,560 การทำรายการสิ่งของ ไปจนถึงลำดับวงศ์ตระกูลต่างๆ 121 00:08:23,520 --> 00:08:25,680 เจ้าของดินแดน อะไรพวกนั้นครับ 122 00:08:25,760 --> 00:08:26,600 ครับ 123 00:08:26,680 --> 00:08:28,600 สำหรับผมแล้ว โรโงโรโง 124 00:08:28,680 --> 00:08:34,960 อาจเป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่ตูปูนา หรือบรรพบุรุษของเราสร้างขึ้น 125 00:08:37,080 --> 00:08:40,960 การมีอยู่ของระบบการเขียนที่ซับซ้อน และพัฒนาจนสมบูรณ์บนเกาะอีสเตอร์ 126 00:08:41,040 --> 00:08:44,920 เป็นปริศนาและความลึกลับ ที่ยังไม่ได้รับการอธิบายครับ 127 00:08:48,400 --> 00:08:50,760 ผมคิดว่าเราต้องพิจารณาความเป็นไปได้ 128 00:08:50,840 --> 00:08:57,080 ที่ว่าระบบการเขียนนี้ถูกนำมาที่เกาะอีสเตอร์ ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ 129 00:08:57,160 --> 00:09:01,000 โดยผู้ตั้งถิ่นฐานกลุ่มแรก ที่ถูกจดจำในตำนานเรื่องเล่า 130 00:09:01,080 --> 00:09:04,880 ว่าพวกเขามาจากฮิวา เกาะในแปซิฟิกที่มีขนาดใหญ่กว่านี้มาก 131 00:09:04,960 --> 00:09:09,880 ซึ่งถูกน้ำท่วมใหญ่และจมอยู่ใต้ท้องทะเล 132 00:09:11,120 --> 00:09:14,080 ผมรู้ว่านี่เป็นการคาดเดาของตัวผมเอง 133 00:09:14,600 --> 00:09:18,640 แต่เป็นไปได้ไหม ที่เรากำลังมองดูภาษาที่ใช้กันจริงๆ 134 00:09:18,720 --> 00:09:21,640 ในอารยธรรมที่สูญหายไปที่ผมตามหามาตลอด 135 00:09:25,000 --> 00:09:26,960 ผู้คนจากเกาะฮิวาอันไกลโพ้น 136 00:09:30,560 --> 00:09:32,400 เรื่องราวต้นกำเนิดและภาษาของพวกเขา 137 00:09:32,480 --> 00:09:35,080 ได้รับการอนุรักษ์ไว้ โดยชาวพอลีนีเซียที่ออกเดินทางไกล 138 00:09:35,160 --> 00:09:38,000 ซึ่งปัจจุบันเรียกตัวเองว่าชาวราปานูอี 139 00:09:45,160 --> 00:09:48,120 ผมเชื่อว่ารูปปั้นโมอายก็อาจเป็นผลิตผล 140 00:09:48,200 --> 00:09:50,320 ของอารยธรรมก่อนหน้านี้ด้วย 141 00:09:54,480 --> 00:09:58,720 มีหลักฐานว่าฐานหินอาฮูที่โมอายตั้งอยู่นั้น 142 00:09:58,800 --> 00:10:02,720 อาจถูกออกแบบและสร้างขึ้นโดยคนกลุ่มอื่น 143 00:10:04,000 --> 00:10:05,280 อย่างเช่นอันนี้ 144 00:10:08,640 --> 00:10:10,200 นี่คืออาฮู วินาปู 145 00:10:10,280 --> 00:10:12,280 มันมีความเฉพาะอยู่สองอย่างครับ 146 00:10:13,080 --> 00:10:16,720 อย่างแรก มันสร้างจากหินบะซอลต์แข็งทั้งหมด 147 00:10:17,320 --> 00:10:20,080 ไม่ใช่จากหินภูเขาไฟเนื้อนิ่มแบบอาฮูอันอื่นๆ 148 00:10:20,840 --> 00:10:23,080 อย่างที่สอง และที่ไม่อาจมองข้ามได้เลย 149 00:10:24,800 --> 00:10:28,320 คือบล็อกหินขนาดมหึมาเหล่านี้ ถูกประกอบเข้าด้วยกันอย่างพอดิบพอดี 150 00:10:28,400 --> 00:10:31,760 ในแบบที่ประณีตกว่าอาฮูอันอื่นๆ บนเกาะนี้มาก 151 00:10:33,640 --> 00:10:37,160 ที่จริงผู้สร้างดั้งเดิมของมันสร้างมัน อย่างพิถีพิถันเสียจน 152 00:10:37,240 --> 00:10:42,320 ไม่มีวัสดุอินทรีย์ในสมัยนั้นติดอยู่ ในร่องระหว่างบล็อกหินเลย 153 00:10:42,920 --> 00:10:45,040 ทำให้ไม่สามารถระบุอายุที่แท้จริงของมันได้ 154 00:10:46,360 --> 00:10:48,480 มันช่างดูแปลกแยกจากที่นี่ 155 00:10:48,560 --> 00:10:52,400 จนบางคนอาจคิดว่า มันเป็นผลงานของวัฒนธรรมอื่นเลยก็ได้ 156 00:10:54,520 --> 00:10:59,080 และมีเหตุผลอีกอย่างที่ทำให้ผมสงสัยว่า วัฒนธรรมอื่นที่ว่านั้น 157 00:10:59,160 --> 00:11:02,560 อาจเป็นอารยธรรมยุคน้ำแข็งที่สูญหายไป ที่ผมตามหาอยู่ 158 00:11:03,440 --> 00:11:07,360 ชื่อเดิมของเกาะอีสเตอร์ คือเท ปิโต โอ เต เฮนัว 159 00:11:07,440 --> 00:11:09,960 ซึ่งแปลว่า "สะดือโลก" 160 00:11:11,240 --> 00:11:15,640 การกำหนดสถานที่ศักดิ์สิทธิ์โบราณว่าเป็นสะดือนี้ 161 00:11:15,720 --> 00:11:18,240 เป็นสิ่งที่ปรากฏซ้ำๆ 162 00:11:18,320 --> 00:11:21,800 ในวัฒนธรรมโบราณและภาษาต่างๆ ทั่วโลก 163 00:11:23,640 --> 00:11:27,840 {\an8}โกเบคลี เทเป แปลตรงตัวว่า "เนินเขาสะดือ" 164 00:11:27,920 --> 00:11:31,280 {\an8}เดลฟีในกรีซก็เป็นสะดือโลก 165 00:11:32,000 --> 00:11:34,000 {\an8}กัมพูชาก็เป็นอีกหนึ่งตัวอย่าง 166 00:11:34,080 --> 00:11:34,960 {\an8}(นครวัด กัมพูชา) 167 00:11:38,720 --> 00:11:42,760 เป็นไปได้ไหมว่าวัฒนธรรมหนึ่ง ที่เดินทางรอบโลกในยุคก่อนประวัติศาสตร์ 168 00:11:43,560 --> 00:11:48,240 ใช้การอ้างอิงถึงสะดือนี้ มาตั้งชื่อสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดของพวกเขา 169 00:11:48,880 --> 00:11:50,280 รวมถึงราปานูอีด้วย 170 00:11:51,640 --> 00:11:54,400 ถ้าใช่ พวกเขาเดินทางมาถึงที่นี่ได้ยังไง 171 00:11:56,800 --> 00:11:59,960 มีความเป็นไปได้ที่น่าสนใจอย่างหนึ่งครับ 172 00:12:07,480 --> 00:12:11,840 ราปานูอีตั้งอยู่สุดทางตะวันตก ของแนวเทือกเขาใต้น้ำ 173 00:12:14,040 --> 00:12:18,440 ในช่วงยุคน้ำแข็ง เมื่อระดับน้ำทะเลต่ำกว่าปัจจุบัน 121 เมตร 174 00:12:18,520 --> 00:12:23,320 และพื้นมหาสมุทรอาจอยู่สูงกว่าตอนนี้ เพราะปรากฏการณ์ที่เรียกว่าไอโซสเตซี 175 00:12:24,080 --> 00:12:27,160 ยอดเขาบางแห่งอาจโผล่พ้นผิวน้ำขึ้นมา 176 00:12:29,000 --> 00:12:31,520 ทำให้เกิดหมู่เกาะเล็กๆ 177 00:12:32,000 --> 00:12:35,400 ที่เชื่อมเกาะราปานูอี เข้ากับชายฝั่งของเปรูในปัจจุบัน 178 00:12:36,840 --> 00:12:42,040 แน่นอนว่าเราเจอบางสิ่งที่น่าทึ่งที่นั่น 179 00:12:42,120 --> 00:12:44,280 แกะสลักอยู่บนเนินเขา หันหน้าออกสู่มหาสมุทร 180 00:12:49,400 --> 00:12:55,400 จีโอกลิฟขนาดใหญ่ที่ทุกวันนี้ รู้จักกันในชื่อคันเดลาบราแห่งแอนดีส 181 00:12:58,280 --> 00:13:01,080 ทรายถูกพัดออกไปหมดแล้ว เหลือเพียงหินเปล่าๆ ด้านล่าง 182 00:13:01,160 --> 00:13:03,200 เป็นรูปตรีศูลขนาดยักษ์ 183 00:13:05,280 --> 00:13:07,400 เมื่อคุณเข้าใกล้ชายฝั่งของเปรู 184 00:13:07,480 --> 00:13:09,880 มันเกือบดูเหมือนสัญญาณหรือเครื่องหมาย 185 00:13:09,960 --> 00:13:11,800 ที่เรียกผู้คนให้เข้ามาหาเลยครับ 186 00:13:11,880 --> 00:13:14,600 บอกว่า "มานี่ ที่นี่มีบางสิ่งที่สำคัญอยู่" 187 00:13:16,080 --> 00:13:18,600 จีโอกลิฟไม่สามารถระบุอายุที่น่าเชื่อถือได้ 188 00:13:19,080 --> 00:13:22,000 แต่เครื่องปั้นดินเผาที่พบใกล้ๆ ถูกระบุว่า 189 00:13:22,080 --> 00:13:26,000 เป็นของวัฒนธรรมท้องถิ่นปาราคัส ช่วง 200 ปีก่อนคริสตกาล 190 00:13:26,480 --> 00:13:29,280 ที่แน่นอนว่าเคยเป็นที่รู้จักและเคารพ 191 00:13:31,280 --> 00:13:36,320 แต่บ้างก็ว่ามันได้รับแรงบันดาลใจ จากตำนานของเทพเจ้าโบราณ วิราโคชา 192 00:13:37,600 --> 00:13:40,800 ผู้ได้รับการบูชาว่า เป็นผู้สร้างสิ่งมหัศจรรย์ลึกลับหลายแห่ง 193 00:13:40,880 --> 00:13:42,440 ในพื้นที่ส่วนนี้ของโลก 194 00:13:43,120 --> 00:13:45,120 ตั้งแต่เส้นนัซกาอันโด่งดัง 195 00:13:45,840 --> 00:13:49,600 ไปจนถึงกลุ่มหินลึกลับขนาดใหญ่ อย่างตีวานากูในโบลิเวีย 196 00:13:50,080 --> 00:13:54,120 บนเทือกเขาแอนดีส ที่ซึ่งเรื่องราวของเขาเริ่มต้นขึ้น 197 00:14:01,840 --> 00:14:03,520 ตามตำนานของอินคา 198 00:14:04,080 --> 00:14:07,520 พื้นที่แห่งนี้เคยเกิดหายนะครั้งใหญ่ 199 00:14:07,600 --> 00:14:09,600 เป็นหายนะอารยธรรมโบราณโดยแท้จริง 200 00:14:15,760 --> 00:14:17,120 เมื่อหายนะผ่านพ้นไป 201 00:14:17,200 --> 00:14:20,280 คนแปลกหน้าก็ปรากฏตัวขึ้นจากทะเลสาบติติกากา 202 00:14:22,800 --> 00:14:24,960 พวกเขาตั้งชื่อให้คนคนนี้ว่าวิราโคชา 203 00:14:27,280 --> 00:14:28,560 แปลว่าฟองแห่งท้องทะเล 204 00:14:32,480 --> 00:14:36,760 เขาและกลุ่มผู้ติดตามได้สอนความลับ ในการเพาะปลูกให้แก่ผู้รอดชีวิต 205 00:14:39,840 --> 00:14:45,400 สอนทักษะขั้นสูงในการทำงานหิน และวิธีการเฝ้าดูท้องฟ้า 206 00:14:51,640 --> 00:14:54,920 หลักๆ ก็คือเขาสอนรากฐานอารยธรรม 207 00:14:55,000 --> 00:14:59,200 ให้ผู้รอดชีวิตจากหายนะที่ท้อแท้และสิ้นหวัง 208 00:15:01,840 --> 00:15:06,920 เรื่องราวเหล่านี้สอดคล้อง กับเรื่องราวจากทั่วโลก 209 00:15:07,000 --> 00:15:12,680 ที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และผู้คนที่รอดจากหายนะครั้งใหญ่ 210 00:15:12,760 --> 00:15:15,040 และพยายามฟื้นฟูอารยธรรมขึ้นมาใหม่ 211 00:15:18,360 --> 00:15:21,920 ในอียิปต์คือโอซิริสที่สอนผู้คนของเขา 212 00:15:22,000 --> 00:15:26,000 ให้รู้จักการไถดิน เก็บเกี่ยวพืชผล และสร้างกฎหมาย 213 00:15:28,080 --> 00:15:31,720 สำหรับแอซเท็กในเม็กซิโก ก็คือเควตซาลโคลาเทิล 214 00:15:31,800 --> 00:15:33,360 ผู้เร่ร่อนที่ไว้หนวดเครา 215 00:15:33,440 --> 00:15:36,120 ที่นำรากฐานอารยธรรม มาให้พวกเขาเป็นครั้งแรก 216 00:15:38,720 --> 00:15:43,880 และบนเกาะราปานูอี กษัตริย์ฮูตู มาตูอา และผู้ติดตามของเขาก็สะท้อนแนวคิดนี้ด้วย 217 00:15:46,520 --> 00:15:50,000 ในเรื่องราวของนักเดินทาง จากดินแดนไกลโพ้นที่สูญหาย 218 00:15:50,080 --> 00:15:53,120 มาถึงทางทะเลเพื่อเริ่มต้นอารยธรรมใหม่ 219 00:15:59,320 --> 00:16:03,880 เนื่องจากประเพณีคล้ายกันนี้พบทั่วโลก เราจึงต้องพิจารณามันอย่างจริงจัง 220 00:16:07,440 --> 00:16:10,640 แม้แต่ทุกวันนี้ การเล่าเรื่องก็ยังคงเป็นวิธีที่ทรงพลัง 221 00:16:10,720 --> 00:16:13,920 ในการถ่ายทอดความรู้จากรุ่นสู่รุ่น 222 00:16:15,040 --> 00:16:17,440 ด้วยเรื่องราวที่เป็นสากลเหล่านี้ คุณรู้สึกไหมครับว่า 223 00:16:17,520 --> 00:16:22,920 {\an8}เรากำลังได้รับอิทธิพลจากความรู้นั้นที่เก่าแก่กว่า 224 00:16:23,000 --> 00:16:24,400 {\an8}ครับ ผมคิดว่าเป็นแบบนั้น 225 00:16:24,480 --> 00:16:26,360 แล้วมันมาจากไหนครับ 226 00:16:26,920 --> 00:16:29,520 มีผู้รอดชีวิตไม่กี่คนที่ถ่ายทอดความรู้ครับ 227 00:16:29,600 --> 00:16:32,280 แต่ความรู้เหล่านั้นก็ถูกถ่ายทอด ในรูปแบบของตำนาน 228 00:16:32,360 --> 00:16:34,480 - ในรูปแบบของประเพณี - ครับ 229 00:16:34,560 --> 00:16:38,720 ตำนานของมนุษยชาติเปรียบเสมือน ธนาคารความจำของเผ่าพันธุ์เรา 230 00:16:38,800 --> 00:16:40,960 ตั้งแต่ยุคที่ไม่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร 231 00:16:41,040 --> 00:16:44,480 ครับ เรารู้ว่าตำนานปากต่อปากนั้นแข็งแกร่งมาก 232 00:16:44,560 --> 00:16:47,400 ในฐานะวิธีการถ่ายทอดประวัติศาสตร์ 233 00:16:48,000 --> 00:16:51,840 ตำนานทำให้ผมนึกถึงเหตุการณ์ ทางประวัติศาสตร์บางอย่าง 234 00:16:51,920 --> 00:16:52,880 ครับ ถูกต้องเลย 235 00:16:52,960 --> 00:16:56,920 นี่เป็นแนวคิดเดียวกันที่ถูกทำซ้ำในวัฒนธรรมต่างๆ 236 00:16:57,000 --> 00:17:00,040 ที่ไม่ได้มีการเชื่อมโยงกัน ในช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์เลย 237 00:17:00,120 --> 00:17:02,000 ทำให้ผมคิดว่าสิ่งที่เรากำลังเห็นอยู่นี้ 238 00:17:02,080 --> 00:17:05,560 คือมรดกร่วมจากวัฒนธรรมหนึ่งที่เก่าแก่กว่ามาก 239 00:17:05,640 --> 00:17:09,520 เป็นเหตุผลที่ทำให้ผมคิดว่า เราควรพิจารณาพวกตำนานให้จริงจังมากขึ้น 240 00:17:09,600 --> 00:17:11,040 ครับ ผมก็คิดแบบนั้น 241 00:17:15,760 --> 00:17:19,440 ผู้ให้ความรู้ที่ยิ่งใหญ่จากตำนานของเรา อย่างวิราโคชา 242 00:17:20,120 --> 00:17:24,600 อาจเป็นหนึ่งในผู้รอดชีวิตเพียงไม่กี่คน จากอารยธรรมที่สูญหายไปจากประวัติศาสตร์ก็ได้ 243 00:17:28,440 --> 00:17:31,760 มันอาจมีหลักฐาน เกี่ยวกับมรดกของวิราโคชามากขึ้น 244 00:17:33,880 --> 00:17:36,680 ประมาณ 483 กิโลเมตร ทางตะวันออกจากคันเดลาบรา 245 00:17:39,320 --> 00:17:42,440 บนที่ราบสูงบนยอดเขาใกล้เมืองกุสโก 246 00:17:42,520 --> 00:17:44,800 (กุสโก) 247 00:17:44,880 --> 00:17:47,720 สูงจากระดับน้ำทะเลกว่า 3,352 เมตร 248 00:17:49,880 --> 00:17:52,120 นี่คือซัคซายฮัวมาน 249 00:17:55,520 --> 00:18:00,160 (ซัคซายฮัวมาน) 250 00:18:01,360 --> 00:18:04,680 นี่คือหนึ่งในสถานที่โบราณที่ไม่ธรรมดาที่สุดในโลก 251 00:18:05,480 --> 00:18:07,080 และเป็นหนึ่งในสถานที่ลึกลับที่สุดด้วย 252 00:18:10,520 --> 00:18:14,520 พื้นที่บนยอดเขากว้างใหญ่นี้ เต็มไปด้วยสิ่งมหัศจรรย์ทางโบราณคดี 253 00:18:14,600 --> 00:18:16,200 ที่สร้างขึ้นจากหิน 254 00:18:18,080 --> 00:18:21,600 และที่ขอบของเนินเขา คือปริศนาที่ยิ่งใหญ่ที่สุด 255 00:18:28,640 --> 00:18:31,840 กำแพงหินสามแถวที่ชวนให้ประหลาดใจ 256 00:18:35,200 --> 00:18:37,280 เพราะมันซิกแซ็กข้ามยอดเขา 257 00:18:43,040 --> 00:18:45,640 ผมมาที่นี่นานกว่า 30 ปีแล้ว 258 00:18:45,720 --> 00:18:48,080 และมันยังคงทำให้ผมฉงนได้เสมอ 259 00:18:50,800 --> 00:18:53,360 ทว่าตอนนี้การค้นหาอารยธรรมที่สูญหายของผม 260 00:18:53,440 --> 00:18:55,440 ได้มุ่งเน้นที่ทวีปอเมริกา 261 00:18:56,760 --> 00:19:00,040 ผมจึงมาที่นี่เพื่อตรวจสอบ ปริศนาหินมหึมาโบราณนี้อีกครั้ง 262 00:19:02,480 --> 00:19:05,200 ผมมักรู้สึกเหมือนตัวเองเป็นคนตัวเล็กจ้อย 263 00:19:05,280 --> 00:19:07,960 เมื่อยืนอยู่ข้างหินมหึมาพวกนี้ 264 00:19:10,560 --> 00:19:14,160 มีบล็อกหินหลายเหลี่ยม ขนาดมหึมาแบบนี้เป็นพันๆ ก้อน 265 00:19:14,240 --> 00:19:16,560 มันถูกตัดแต่งและจัดวางอย่างสมบูรณ์แบบ 266 00:19:19,800 --> 00:19:22,920 ไม่มีบล็อกหินอันไหนที่มีขนาด หรือรูปร่างเหมือนกันเลยครับ 267 00:19:24,560 --> 00:19:28,240 แต่พวกมันกลับถูกจัดวางเข้าด้วยกัน อย่างลงตัวจนน่าอัศจรรย์ 268 00:19:30,040 --> 00:19:33,240 จนแทบดูเหมือนว่าพวกมัน หลอมละลายเข้าด้วยกันเลยครับ 269 00:19:35,280 --> 00:19:38,560 ต่อให้ใช้เทคโนโลยีในปัจจุบัน เราจะเริ่มจากตรงไหนล่ะ 270 00:19:39,160 --> 00:19:40,680 เจ้านี่ถูกทำขึ้นมายังไง 271 00:19:44,600 --> 00:19:48,760 เพื่อทำความเข้าใจซัคซายฮัวมาน เราจำเป็นต้องรู้ประวัติศาสตร์ของมันมากขึ้น 272 00:19:49,920 --> 00:19:52,440 ซึ่งเกี่ยวพันกับเมืองด้านล่าง 273 00:19:58,040 --> 00:20:03,120 ปัจจุบันกุสโกเป็นมหานครที่มีชีวิตชีวา ที่มีประชากร 500,000 คน 274 00:20:04,920 --> 00:20:08,880 สำหรับนักท่องเที่ยวหลายล้านคนต่อปี ที่นี่คือจุดหมายปลายทางที่ได้รับความนิยม 275 00:20:11,400 --> 00:20:14,760 แต่สำหรับการค้นหาของผม มันมีความหมายมากกว่านั้นมาก 276 00:20:18,000 --> 00:20:21,200 กุสโกเคยเป็นเมืองหลวง ของอาณาจักรอินคาที่ครั้งหนึ่งเคยยิ่งใหญ่ 277 00:20:21,280 --> 00:20:25,280 อารยธรรมที่น่าทึ่งและน่าตื่นตาตื่นใจอย่างแท้จริง 278 00:20:27,160 --> 00:20:30,280 อารยธรรมที่เคยเจริญรุ่งเรือง บนเทือกเขาสูงแอนดีส 279 00:20:32,040 --> 00:20:36,360 {\an8}มีชื่อเสียงจากโบราณสถานหิน ที่น่าอัศจรรย์อย่างมาชูปิกชู 280 00:20:36,440 --> 00:20:38,640 {\an8}(มาชูปิกชู เปรู) 281 00:20:39,240 --> 00:20:44,440 แต่เช่นเดียวกับโมอายของราปานูอี เรื่องราวที่แท้จริงถูกบดบังด้วยหายนะ 282 00:20:47,080 --> 00:20:49,160 ที่นี่ ในปี 1532 283 00:20:49,640 --> 00:20:53,880 ชาวสเปนผู้พิชิตได้นำความโกลาหล และการทำลายล้างมาสู่อินคา 284 00:20:55,120 --> 00:20:57,320 เพราะการปราบปรามวัฒนธรรมพื้นเมือง 285 00:20:57,400 --> 00:20:59,760 ในระหว่างการพิชิตของสเปนและช่วงหลังจากนั้น 286 00:20:59,840 --> 00:21:02,760 ทำให้สิ่งที่เรารู้เกี่ยวกับชาวอินคา ยังคงกระท่อนกระแท่น 287 00:21:02,840 --> 00:21:05,000 และเป็นหลุมดำทางประวัติศาสตร์ในหลายๆ ด้าน 288 00:21:07,360 --> 00:21:11,600 ทำไมน่ะเหรอ เพราะประวัติศาสตร์ มักถูกเขียนโดยผู้ชนะน่ะสิ 289 00:21:15,560 --> 00:21:18,360 และในหมู่ผู้พิชิตเหล่านั้น มีเพียงไม่กี่คนที่ยอมเสียเวลาเรียนรู้ 290 00:21:18,440 --> 00:21:20,760 วัฒนธรรมที่พวกเขาทำลายล้าง 291 00:21:23,120 --> 00:21:25,320 อินคาเป็นอารยธรรมที่รุ่งเรืองมาก 292 00:21:25,400 --> 00:21:29,600 พวกเขาบันทึกความสำเร็จที่น่าทึ่ง แต่พวกเขาก็มีอายุสั้นมาก 293 00:21:30,760 --> 00:21:32,640 แม้ว่าจะมั่งคั่งและทรงพลัง 294 00:21:32,720 --> 00:21:36,120 จักรวรรดิอินคาก็มีอยู่ไม่ถึงหนึ่งศตวรรษ 295 00:21:36,680 --> 00:21:38,680 ก่อนที่ผู้พิชิตจะมาถึง 296 00:21:39,920 --> 00:21:42,040 แน่นอนว่าชาวสเปนไม่รู้เรื่องนี้ 297 00:21:42,600 --> 00:21:47,280 และคิดว่าทุกสิ่งที่พวกเขาเห็น รวมถึงกำแพงหินมหึมาที่น่าทึ่ง 298 00:21:47,760 --> 00:21:50,360 เป็นผลงานของชาวอินคาที่พวกเขาเพิ่งพบ 299 00:21:52,680 --> 00:21:55,320 ยากที่จะนึกว่าเจ้านี่ถูกทำขึ้นมาได้ยังไง 300 00:21:55,800 --> 00:21:58,800 ด้วยเครื่องมือที่เชื่อกันว่าชาวอินคามี 301 00:21:58,880 --> 00:22:00,840 ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการเอาหินชนิดอื่น 302 00:22:00,920 --> 00:22:03,520 มาทุบหินขนาดใหญ่ยักษ์พวกนี้ 303 00:22:03,600 --> 00:22:05,120 ผมว่ามันไม่มีเหตุผลเอาซะเลย 304 00:22:10,240 --> 00:22:12,800 ชาวอินคาไม่มีภาษาเขียน 305 00:22:13,600 --> 00:22:16,080 แต่บันทึกของชาวสเปนเท่าที่เรามี 306 00:22:16,560 --> 00:22:21,040 บอกว่าซัคซายฮัวมานเป็นผลงานทางความคิด ของปาชาคูติ อินคา ยูปังกี 307 00:22:21,120 --> 00:22:23,280 ที่การครองราชย์ของเขานำพาจักรวรรดิอินคา 308 00:22:23,360 --> 00:22:25,320 สู่ความรุ่งเรืองเมื่อกว่า 500 ปีก่อน 309 00:22:30,240 --> 00:22:31,960 {\an8}ผมหวังว่าจะได้เรียนรู้เพิ่มเติม 310 00:22:32,040 --> 00:22:34,880 {\an8}จากอมาเดโอ วาเลอร์ ฟาร์ฟาน ผู้เชี่ยวชาญสถานที่ 311 00:22:37,280 --> 00:22:40,440 คุณคิดว่างานสถาปัตยกรรมน่าทึ่งนี้ถูกสร้างขึ้น 312 00:22:40,520 --> 00:22:44,880 ประมาณช่วงศตวรรษ หรือช่วงยุคสมัยไหนครับ 313 00:22:44,960 --> 00:22:48,880 การก่อสร้างน่าจะเริ่มประมาณปี 1440 ครับ 314 00:22:50,600 --> 00:22:53,080 และสร้างเสร็จหลังผ่านไป 90 ปีครับ 315 00:22:53,160 --> 00:22:54,120 ครับ 316 00:22:54,200 --> 00:22:57,080 ก่อนที่พวกผู้พิชิตจะมาถึงเป๊ะๆ 317 00:23:01,120 --> 00:23:05,760 ปาชาคูติสั่งให้คนงานสร้างซัคซายฮัวมาน โดยใช้หินในท้องถิ่น 318 00:23:07,920 --> 00:23:10,200 ซึ่งเป็นหินที่ค่อนข้างนิ่ม 319 00:23:11,280 --> 00:23:13,920 แม้ปัจจุบันจะอยู่สูงกว่า ระดับน้ำทะเล 3,657 เมตร 320 00:23:14,400 --> 00:23:17,560 มันก็เคยเป็นพื้นมหาสมุทรในยุคเริ่มแรกของโลก 321 00:23:21,000 --> 00:23:22,240 ในอดีตเมื่อนานมาแล้ว 322 00:23:22,320 --> 00:23:25,640 ส่วนนี้ของอเมริกาใต้ ก็เคยเป็นส่วนหนึ่งของทะเลครับ 323 00:23:25,720 --> 00:23:31,800 ส่วนต่างๆ ของหุบเขานี้ด้วย เรายังเห็นหินปูนที่เป็นหินฐานได้ 324 00:23:31,880 --> 00:23:33,360 หินปูน หินตะกอน 325 00:23:33,440 --> 00:23:35,280 ครับ และด้วยเหตุผลนี้เอง 326 00:23:36,000 --> 00:23:40,760 หินชนิดนี้จึงเอามาใช้งานได้ง่ายกว่าหินชนิดอื่น 327 00:23:43,040 --> 00:23:46,040 จากการศึกษาทางโบราณคดี บล็อกหินปูนขนาดใหญ่เหล่านี้ 328 00:23:46,120 --> 00:23:48,760 น่าจะถูกตัดที่เหมืองหิน ที่อยู่ไกลออกไปถึง 14.5 กิโลเมตร 329 00:23:51,880 --> 00:23:56,680 ผมเข้าใจว่าหินปูนเป็นหินเนื้ออ่อน และเอามาทำงานได้ง่าย 330 00:23:56,760 --> 00:24:00,800 แต่คือบล็อกหินปูนขนาดมหึมา 331 00:24:00,880 --> 00:24:02,040 บล็อกหนักสุดคือเท่าไรครับ 332 00:24:02,120 --> 00:24:06,360 บล็อกหินหนักสุดที่นี่ หนักกว่า 100 ตันครับ 333 00:24:06,440 --> 00:24:07,360 แม่เจ้า 334 00:24:12,680 --> 00:24:16,440 สิ่งที่ทำให้ผมสงสัยก็คือ การเคลื่อนย้ายบล็อกหินขนาดใหญ่เหล่านั้น 335 00:24:16,920 --> 00:24:19,320 ผมไม่เข้าใจเลยว่าพวกเขาทำได้ยังไง 336 00:24:19,400 --> 00:24:23,040 ในความเห็นของผม ความลับอยู่ที่ปริมาณครับ 337 00:24:23,120 --> 00:24:27,640 เปโดร เซียซา เดอ เลออน เป็นทหาร และนักบันทึกประวัติศาสตร์ชาวสเปน 338 00:24:27,720 --> 00:24:29,680 และตามที่เขาบันทึกไว้ 339 00:24:29,760 --> 00:24:34,040 มีคนมากกว่า 20,000 คนทำงานที่นี่ทุกวัน 340 00:24:34,120 --> 00:24:36,520 นั่นเป็นความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ด้านการจัดการเลย 341 00:24:37,040 --> 00:24:42,360 การจัดการคนงาน 20,000 คน เป็นงานที่ต้องอาศัยความช่ำชองสูง 342 00:24:46,800 --> 00:24:50,000 การก่อสร้างอาคารเอ็มไพร์สเตตในนิวยอร์ก 343 00:24:50,080 --> 00:24:54,360 ใช้คนงานประมาณ 3,400 คนในศตวรรษที่ 20 344 00:24:55,640 --> 00:24:58,120 ต่อให้มีคนงานมากกว่าหกเท่า 345 00:24:58,200 --> 00:25:01,720 การเคลื่อนย้ายหินเหล่านี้ ด้วยเทคโนโลยีที่ล้าสมัยกว่ามาก 346 00:25:02,200 --> 00:25:06,880 คงเป็นความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ ที่อาจเกิดความผิดพลาดได้อย่างรวดเร็ว 347 00:25:08,680 --> 00:25:12,520 บันทึกเดียวที่เรามีที่เกี่ยวกับการที่ชาวอินคา พยายามเคลื่อนย้ายหินขนาดใหญ่นี้ 348 00:25:13,120 --> 00:25:17,000 ถูกบันทึกโดยนักบันทึกประวัติศาสตร์ชาวสเปน หลังเกิดการพิชิตไม่กี่ทศวรรษ 349 00:25:17,080 --> 00:25:20,320 ตามคำบอกเล่าที่เขาได้ฟังจากผู้ให้ข้อมูลท้องถิ่น 350 00:25:20,800 --> 00:25:23,240 ความพยายามนี้จบลงด้วยหายนะ 351 00:25:26,440 --> 00:25:30,160 เขาเล่าถึงหินก้อนใหญ่ที่ถูกลากข้ามภูเขา 352 00:25:30,240 --> 00:25:32,240 โดยคนมากกว่า 20,000 คน 353 00:25:33,880 --> 00:25:38,000 จนกระทั่งถึงจุดหนึ่ง พวกเขาทำหินหลุดมือและตกลงจากหน้าผา 354 00:25:40,080 --> 00:25:42,080 ทับคนมากกว่า 3,000 คนเสียชีวิต 355 00:25:44,800 --> 00:25:48,520 ถ้าชาวอินคามีปัญหามากขนาดนั้น ในการขนย้ายหินก้อนใหญ่ก้อนเดียว 356 00:25:48,600 --> 00:25:51,120 พวกเขาขนย้ายก้อนหินขนาดใหญ่ นับพันก้อนมาที่นี่ได้ยังไง 357 00:25:59,000 --> 00:26:00,920 ตามบันทึกของชาวสเปน 358 00:26:01,000 --> 00:26:05,600 ชาวอินคาใช้ทั้งเชือก ลูกกลิ้งไม้ลำเลียง และคานงัด 359 00:26:08,600 --> 00:26:11,960 ถ้าคุณใช้ความพยายาม และความระมัดระวังอย่างมาก 360 00:26:12,040 --> 00:26:14,000 ก็อาจวางบล็อกหินสองสามก้อนเข้าด้วยกันได้ 361 00:26:14,080 --> 00:26:18,760 แต่การวางหินหลายร้อยก้อนเข้าด้วยกัน และทุกก้อนต้องเข้ากันได้เป๊ะๆ 362 00:26:18,840 --> 00:26:20,840 มันขัดกับหลักตรรกะครับ 363 00:26:22,680 --> 00:26:26,520 ถ้าจริงๆ แล้วจักรพรรดิอินคา ทำเพียงแค่ดูแลสิ่งก่อสร้าง 364 00:26:26,600 --> 00:26:30,160 ที่เป็นป้อมปราการบนกำแพงหินขนาดใหญ่ 365 00:26:30,240 --> 00:26:31,920 ที่มีอยู่มาก่อนแล้วล่ะ 366 00:26:34,080 --> 00:26:38,120 เป็นเรื่องยากที่จะจินตนาการถึงภาพ ที่คงต้องตาตรึงใจที่เคยอยู่ที่นี่ 367 00:26:38,200 --> 00:26:40,160 ก่อนเกิดการพิชิตของชาวสเปน 368 00:26:40,240 --> 00:26:42,520 แต่เมื่อผสมผสานข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ล่าสุด 369 00:26:42,600 --> 00:26:45,440 เข้ากับบันทึกจากพยานผู้เห็นเหตุการณ์ ที่เหลือไว้โดยผู้พิชิตกลุ่มแรก 370 00:26:45,520 --> 00:26:49,360 เราคงนึกภาพได้เป็นอย่างดีเลยว่า ซัคซายฮัวมานคงดูเป็นเช่นไร 371 00:26:49,440 --> 00:26:51,280 ในช่วงที่จักรวรรดิอินคารุ่งเรืองที่สุด 372 00:26:56,920 --> 00:27:01,880 ชาวสเปนบอกให้เรารู้ว่า บริเวณหลักถูกใช้เป็นค่ายทหาร 373 00:27:01,960 --> 00:27:03,960 มันรองรับทหารได้หลายพันคน 374 00:27:09,120 --> 00:27:11,960 พวกเขาอธิบายถึงหอคอยสามชั้น 375 00:27:12,040 --> 00:27:14,040 ที่สูงเหนือพื้นขึ้นไป 15 เมตร 376 00:27:15,200 --> 00:27:18,200 ล้อมรอบด้วยอาคารสี่เหลี่ยมและลานกว้าง 377 00:27:19,560 --> 00:27:23,040 มีระบบน้ำจืดและห้องเก็บธัญพืชเป็นของตัวเอง 378 00:27:26,200 --> 00:27:30,160 ผู้บุกรุกเชื่อว่าซัคซายฮัวมาน เดิมทีถูกสร้างขึ้นเป็นป้อมปราการ 379 00:27:31,680 --> 00:27:34,560 เพราะหลังจากการล่มสลายของกุสโก 380 00:27:34,640 --> 00:27:38,520 นักรบอินคาใช้กำแพงเหล่านี้เป็นที่มั่นสุดท้าย 381 00:27:42,280 --> 00:27:44,200 ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่จนถึงวันนี้ 382 00:27:46,600 --> 00:27:48,600 แต่นั่นใช่เหตุผลที่มันถูกสร้างขึ้นหรือไม่ 383 00:27:50,920 --> 00:27:56,120 มุมมองทางโบราณคดีเรื่องต้นกำเนิด ของซัคซายฮัวมานคืออะไรครับ 384 00:27:56,200 --> 00:27:57,600 และมันถูกสร้างเพื่ออะไร 385 00:27:58,200 --> 00:28:01,680 หลายคนคิดว่ามันเป็นสิ่งก่อสร้างทางการทหาร 386 00:28:02,280 --> 00:28:06,600 แต่มีแค่ชาวสเปนหรือผู้พิชิตเท่านั้น ที่บอกว่ามันเป็นป้อมปราการทางการทหาร 387 00:28:06,680 --> 00:28:07,920 แต่ไม่ใช่เหรอครับ 388 00:28:08,000 --> 00:28:13,360 มันเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นวัด เพื่อเฉลิมฉลองพิธีกรรมและทำพิธี 389 00:28:15,800 --> 00:28:18,440 งั้นแนวคิดที่เรามักอ่านเจอ ในหนังสือประวัติศาสตร์ 390 00:28:18,520 --> 00:28:21,400 ที่ว่าซัคซายฮัวมานถูกสร้างขึ้น เพื่อเป็นป้อมทางการทหาร 391 00:28:21,480 --> 00:28:23,000 ก็เป็นเรื่องเข้าใจผิดเหรอครับ 392 00:28:23,080 --> 00:28:24,400 เข้าใจผิดครั้งใหญ่เลยครับ 393 00:28:27,000 --> 00:28:29,440 ซากสิ่งก่อสร้างที่อยู่บนยอดเขา 394 00:28:29,920 --> 00:28:32,720 ที่ทำจากบล็อกหินสี่เหลี่ยมเป็นระเบียบ 395 00:28:33,240 --> 00:28:37,040 บ่งบอกว่าพวกมันไม่ได้ถูกสร้างขึ้น ในช่วงเวลาเดียวกับกำแพงหินมหึมา 396 00:28:39,440 --> 00:28:45,800 อาจพูดได้ว่าชาวอินคาได้รับสืบทอด สิ่งก่อสร้างที่มีอยู่มาก่อน 397 00:28:45,880 --> 00:28:48,400 แต่สิ่งก่อสร้างที่มีอยู่มาก่อนพวกนั้น ก็เป็นเรื่องอธิบายยาก 398 00:28:48,480 --> 00:28:49,360 ครับ 399 00:28:50,080 --> 00:28:53,240 มันยังบ่งบอกว่าพวกมันถูกสร้างขึ้น 400 00:28:53,320 --> 00:28:56,040 ด้วยเทคนิคการทำหินที่แตกต่างออกไป ที่เราไม่รู้จักด้วย 401 00:28:59,720 --> 00:29:03,920 นี่อาจถือว่าเป็นเทคโนโลยีที่หายสาบสูญไปแล้ว 402 00:29:06,040 --> 00:29:11,440 เราเผชิญกับปริศนาที่ไม่อาจอธิบายได้ 403 00:29:12,920 --> 00:29:17,960 เป็นไปได้ไหมที่กำแพงซิกแซกที่เรียบเนียน และมหึมาของซัคซายฮัวมาน 404 00:29:18,040 --> 00:29:21,600 อาจไม่ได้ถูกสร้างขึ้นโดยชาวอินคา แต่เป็นฝีมือของคนอื่น 405 00:29:27,920 --> 00:29:31,520 แล้วถ้าสิ่งก่อสร้างส่วนใหญ่ที่เราเห็นที่นี่ ที่เคยถูกระบุว่าเป็นผลงานของชาวอินคา 406 00:29:32,120 --> 00:29:35,080 แท้จริงแล้วนำเอาความรู้จากอารยธรรม ที่เก่าแก่กว่ามากๆ มาใช้ล่ะ 407 00:29:38,360 --> 00:29:40,160 จะเป็นไปได้ไหมที่มีมรดกอยู่ในก้อนหิน 408 00:29:40,640 --> 00:29:45,320 มรดกจากอารยธรรมที่เก่าแก่กว่า ที่ยังไม่ได้รับการระบุในทางโบราณคดี 409 00:29:48,320 --> 00:29:53,200 อย่างไรก็ตาม ไม่เคยมีการพบ กำแพงหินมหึมาและเรียบเนียน 410 00:29:53,800 --> 00:29:55,800 ในลักษณะที่ง่ายกว่านี้ที่ไหนในเปรู 411 00:29:57,040 --> 00:30:00,600 แต่เราเห็นสิ่งที่คล้ายกันนี้ที่ราปานูอี 412 00:30:02,360 --> 00:30:03,880 {\an8}(อาฮู วินาปู ราปานูอี) 413 00:30:03,960 --> 00:30:06,120 {\an8}ในกำแพงแห่งอาฮู วินาปู 414 00:30:06,200 --> 00:30:11,880 {\an8}ซึ่งเชื่อว่าสร้างขึ้นก่อนซัคซายฮัวมาน และอยู่ห่างออกไป 3,218 กิโลเมตร 415 00:30:14,960 --> 00:30:17,400 บล็อกหินแต่ละอันทำจากหินบะซอลต์เนื้อแข็ง 416 00:30:17,480 --> 00:30:19,280 พวกมันถูกประกอบเข้าด้วยกันอย่างงดงาม 417 00:30:19,360 --> 00:30:23,840 และมันมีองค์ประกอบแบบหลายเหลี่ยม เหมือนกับกำแพงแห่งซัคซายฮัวมานเลย 418 00:30:25,280 --> 00:30:30,040 {\an8}การก่อสร้างที่คล้ายกันนี้ก็พบเห็นได้ ในกำแพงโบราณในตุรกีและในอียิปต์ 419 00:30:30,120 --> 00:30:32,040 {\an8}(วิหารหุบเขาแห่งคาเฟร อียิปต์) 420 00:30:32,120 --> 00:30:37,200 {\an8}มันมีบล็อกหินขนาดเล็กอันนึง อยู่ระหว่างบล็อกที่ใหญ่กว่าได้พอดีเป๊ะ 421 00:30:37,280 --> 00:30:38,320 {\an8}ซึ่งเหมือนกันเลยครับ 422 00:30:38,400 --> 00:30:41,280 {\an8}คุณพบภาพที่เหมือนกันนี้ได้ในกุสโก 423 00:30:41,480 --> 00:30:43,000 {\an8}(กุสโก เปรู) 424 00:30:43,080 --> 00:30:46,200 {\an8}บ้างก็ว่าผู้สร้างเพียงแค่เอาวัสดุเหลือๆ มาใช้ 425 00:30:46,280 --> 00:30:47,800 {\an8}ให้มีประสิทธิภาพ 426 00:30:48,560 --> 00:30:50,560 แต่ดูความพอดิบพอดีนี้สิครับ 427 00:30:51,600 --> 00:30:55,120 มันทำให้มีความรู้สึกว่านี่คือเทคโนโลยีนี้จากอดีต 428 00:30:55,200 --> 00:30:58,040 และไม่ได้จำกัดอยู่แค่ในเปรู 429 00:31:01,080 --> 00:31:04,280 แล้วถ้าชาวอินคาสร้าง โครงสร้างบางส่วนที่เราเห็นที่นี่ 430 00:31:04,360 --> 00:31:06,760 บนฐานที่มีความเก่าแก่กว่ามากๆ ล่ะ 431 00:31:08,280 --> 00:31:10,280 ฐานที่อาจย้อนกลับไป 432 00:31:10,360 --> 00:31:13,520 ถึงรากเหง้าของอารยธรรมในทวีปอเมริกา 433 00:31:17,200 --> 00:31:21,920 ความเป็นไปได้นี้ทำให้ผมเดินทางไปยัง เมืองที่ซัคซายฮัวมานตั้งตระหง่านอยู่ 434 00:31:22,640 --> 00:31:25,640 เมืองที่ชื่อของมันอาจครอบครองกุญแจสำคัญ 435 00:31:27,360 --> 00:31:29,920 ในภาษาเกชัวดั้งเดิมของชาวอินคา 436 00:31:30,000 --> 00:31:32,560 กุสโกแปลว่า "สะดือโลก" 437 00:31:33,240 --> 00:31:34,240 {\an8}(โกเบคลี เทเป ตุรกี) 438 00:31:34,320 --> 00:31:38,720 {\an8}เช่นเดียวกับสะดืออันเป็นสถานที่ ศักดิ์สิทธิ์โบราณอื่นๆ รวมถึงราปานูอี 439 00:31:41,360 --> 00:31:45,680 ในความเห็นของผม แนวคิดเรื่องสะดือที่พบได้ทั่วโลกนี้ 440 00:31:45,760 --> 00:31:48,520 ไม่ควรถูกมองข้ามว่าเป็นเพียงความบังเอิญ 441 00:31:51,120 --> 00:31:55,520 เป็นไปได้ไหมว่างานหินที่มีรูปทรงน่าทึ่ง ที่เราเห็นตามสถานที่สะดือโลกเหล่านี้ 442 00:31:55,600 --> 00:31:57,240 เป็นอีกเศษซากที่เหลืออยู่ 443 00:31:57,320 --> 00:32:00,440 ของอารยธรรมโบราณ ที่เก่าแก่และก้าวหน้ากว่ามาก 444 00:32:00,520 --> 00:32:01,920 ที่ผมตามหาอยู่ 445 00:32:06,280 --> 00:32:07,800 ทุกๆ ที่ในเมืองนี้ 446 00:32:07,880 --> 00:32:12,920 คุณจะเห็นแนวหินซ้อนกันหลายชั้น ที่สวยงามและตัดมาอย่างประณีต 447 00:32:13,480 --> 00:32:15,560 บางจุดก็มีหินขนาดมหึมาอยู่ด้วย 448 00:32:16,480 --> 00:32:18,400 ปริศนาก็คือในกำแพงใดก็ตาม 449 00:32:18,480 --> 00:32:21,480 คุณมักจะเห็นสถาปัตยกรรม หลากหลายรูปแบบได้เลย 450 00:32:21,560 --> 00:32:24,840 บ้างก็ละเอียดประณีต บ้างก็ค่อนข้างหยาบเมื่อเทียบกัน 451 00:32:28,760 --> 00:32:31,840 ปริศนานั้นพาผมมาที่คาเย โลเรโตที่กุสโก 452 00:32:32,640 --> 00:32:35,360 และเฮซูส กามารา นักวิจัยทางโบราณคดี 453 00:32:36,320 --> 00:32:38,040 ผู้เป็นลูกหลานของชาวอินคา 454 00:32:38,120 --> 00:32:42,200 {\an8}และใช้เวลาหลายสิบปีศึกษา งานหินอันเป็นเอกลักษณ์ของเปรูโบราณ 455 00:32:43,560 --> 00:32:48,080 เล่าเรื่องงานของคุณในพื้นที่กุสโก กับหุบเขาศักดิ์สิทธิ์ให้ฟังหน่อยครับ 456 00:32:49,120 --> 00:32:54,920 ผมหลงใหลโบราณวัตถุ ที่มีต้นกำเนิดมาจากมนุษย์ครับ 457 00:32:55,800 --> 00:33:00,040 และสิ่งนี้ก็สะท้อนให้เห็นในหิน 458 00:33:00,120 --> 00:33:04,720 ซึ่งเป็นพยานที่เก่าแก่ที่สุดที่มีอยู่ในประวัติศาสตร์ 459 00:33:06,840 --> 00:33:09,120 เช่นเดียวกับที่เราเห็นที่ซัคซายฮัวมาน 460 00:33:09,200 --> 00:33:12,480 กำแพงหินมหึมาของถนนสายนี้ ประกบกันได้พอดิบพอดี 461 00:33:13,440 --> 00:33:16,880 ขอบโค้งของหินประกบเข้าหากันอย่างลงตัว 462 00:33:18,400 --> 00:33:20,080 มันทำให้ผมสับสนไปหมด 463 00:33:20,160 --> 00:33:24,520 ผมได้แต่ตะลึงตอนมองมัน ผมหาทำอธิบายไม่ได้เลย 464 00:33:24,600 --> 00:33:28,280 ว่าใครก็ตามสร้างกำแพงแบบนี้ขึ้นได้ยังไง 465 00:33:28,360 --> 00:33:31,560 โดยให้หินมหึมาพวกนี้ ประกบกันได้อย่างสมบูรณ์แบบ 466 00:33:33,120 --> 00:33:36,200 นักโบราณคดีบอกว่านี่คือผลงานของชาวอินคา 467 00:33:36,800 --> 00:33:41,680 และพวกเขาโดยใช้เครื่องมือหินทุบธรรมดา ในการทำงานที่น่าทึ่งทั้งหมดนี้ 468 00:33:42,280 --> 00:33:46,840 เป็นไปไม่ได้เลยครับ ที่จะสร้างสิ่งมหัศจรรย์แบบนี้ด้วยสิ่ว 469 00:33:46,920 --> 00:33:48,640 กับชุดเครื่องมือช่าง 470 00:33:48,720 --> 00:33:52,120 หรือคำนวณความแม่นยำที่สมบูรณ์แบบ 471 00:33:52,200 --> 00:33:56,360 ที่มีอยู่ในงานลักษณะนี้ได้เลยครับ 472 00:33:58,360 --> 00:34:01,520 ความแม่นยำแบบนี้ ไม่มีให้เห็นที่ไหนชัดไปกว่าที่นี่อีกแล้ว 473 00:34:02,280 --> 00:34:06,400 มันคือความสำเร็จทางเรขาคณิต ที่รู้จักในชื่อหิน 12 เหลี่ยม 474 00:34:08,400 --> 00:34:13,240 โดยที่ทุกเหลี่ยมของมัน ประกบกับหิน 11 ก้อนได้อย่างลงตัว 475 00:34:16,160 --> 00:34:20,720 แต่ยังมีเรื่องอื่นที่ชวนให้ฉงน เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกว่ากำแพงอินคานี้ด้วย 476 00:34:23,320 --> 00:34:26,400 ผมเห็นสไตล์สถาปัตยกรรม ที่แตกต่างกันเยอะมากที่นี่ 477 00:34:26,480 --> 00:34:28,720 บางก้อนก็เป็นบล็อกหินที่ดูน่าทึ่ง 478 00:34:28,800 --> 00:34:32,640 บางก้อนก็มีคุณภาพด้อยกว่าแต่อยู่ข้างๆ กัน 479 00:34:32,720 --> 00:34:34,280 ช่วยให้ผมเข้าใจปริศนานี้หน่อยครับ 480 00:34:34,880 --> 00:34:38,680 สถาปัตยกรรมนี้ไม่สอดคล้องกับของชาวอินคาครับ 481 00:34:40,280 --> 00:34:47,240 ชาวอินคาไม่ใช้สถาปัตยกรรม แบบหลายเหลี่ยมและโค้งมนแบบนี้ 482 00:34:47,760 --> 00:34:51,280 ชาวอินคามีสถาปัตยกรรมอีกแบบหนึ่ง 483 00:34:51,360 --> 00:34:55,040 ที่มีลักษณะเป็นมุมฉาก 484 00:34:58,440 --> 00:35:02,680 ส่วนบนมีบล็อกที่มีร่องรอยที่สอดคล้องชัดเจน 485 00:35:02,760 --> 00:35:04,760 กับเครื่องมือพื้นฐานที่ชาวอินคาใช้ 486 00:35:06,040 --> 00:35:08,440 การก่อสร้างพวกมันดูไม่มีความลึกลับใดๆ 487 00:35:09,040 --> 00:35:10,720 ไม่เหมือนกับพวกที่อยู่ชั้นล่าง 488 00:35:12,840 --> 00:35:15,840 ในมุมมองของคุณ ชาวอินคาไม่ได้สร้างเจ้านี่เหรอครับ 489 00:35:15,920 --> 00:35:18,120 ไม่ครับ 490 00:35:19,080 --> 00:35:23,360 เฮซูสเชื่อว่าชาวอินคาสร้าง สิ่งที่อยู่ด้านบนและรอบๆ กำแพงโบราณ 491 00:35:23,440 --> 00:35:26,200 ที่มีอยู่แล้วที่นี่เมื่อพวกเขามาถึง 492 00:35:29,480 --> 00:35:34,440 ประวัติศาสตร์ของกุสโก ไม่ได้ย้อนกลับไปถึงแค่ยุคอินคาครับ 493 00:35:34,520 --> 00:35:37,680 แต่ย้อนกลับไปไกลกว่านั้นมาก 494 00:35:39,360 --> 00:35:42,600 เฮซูส กามาราเชื่อว่าเราไม่ได้มองเพียงแค่หนึ่ง 495 00:35:42,680 --> 00:35:45,440 แต่มันมีรูปแบบสถาปัตยกรรมที่ต่างกัน 496 00:35:45,520 --> 00:35:47,080 จากอย่างน้อยสามอารยธรรมเลยครับ 497 00:35:49,360 --> 00:35:53,520 เฮซูสเชื่อว่าบล็อกหินที่มีลักษณะหยาบ และใหม่ที่สุดเป็นฝีมือของชาวอินคา 498 00:35:54,520 --> 00:35:57,600 แต่เขาเชื่อว่าหินก่อนยุคอินคา ที่ถูกแกะสลักเรียบเนียน 499 00:35:57,680 --> 00:35:59,920 ทั้งที่อยู่ที่นี่และที่ซัคซายฮัวมาน 500 00:36:00,000 --> 00:36:02,840 มีรากฐานมาจากเทคนิคโบราณที่เก่าแก่กว่ามาก 501 00:36:03,440 --> 00:36:06,720 เทคนิคที่ชาวอินคานับถือ แต่ไม่สามารถเลียนแบบได้ 502 00:36:10,040 --> 00:36:12,000 มีบางสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ 503 00:36:12,520 --> 00:36:15,520 สำหรับอารยธรรมสมัยใหม่ 504 00:36:15,600 --> 00:36:18,520 สิ่งเหล่านี้เก่าแก่กว่า 505 00:36:18,600 --> 00:36:25,200 และพิสูจน์ว่ามีการใช้หินที่สามารถขึ้นรูปได้ครับ 506 00:36:26,520 --> 00:36:30,160 เฮซูส กามาราเรียกสไตล์นี้ว่าฮานันปาชา 507 00:36:30,640 --> 00:36:33,000 และเพื่อให้ได้สัมผัสกับมันโดยตรง 508 00:36:33,080 --> 00:36:36,080 เขาแนะนำให้ผมไปสถานที่ที่น่าสนใจ 509 00:36:36,840 --> 00:36:39,760 บนเนินเขาที่ซัคซายฮัวมานตั้งอยู่ 510 00:36:45,200 --> 00:36:47,360 เป็นสถานที่ที่มีบรรยากาศลึกลับจริงๆ 511 00:36:49,640 --> 00:36:53,080 และมีทางเข้าซับซ้อนที่แทบจะถูกซ่อนไม่ให้เห็น 512 00:36:56,080 --> 00:36:59,400 เป็นอีกครั้งที่เอาการผสมผสาน รูปแบบการก่อสร้างที่แปลกประหลาดมาใช้ 513 00:37:01,880 --> 00:37:04,200 ที่นี่รู้จักในชื่อว่าวิหารแห่งดวงจันทร์ 514 00:37:06,440 --> 00:37:11,200 (วิหารแห่งดวงจันทร์) 515 00:37:15,280 --> 00:37:19,640 นี่คือสถานที่ที่แปลกและซับซ้อน มีบรรยากาศลึกลับ 516 00:37:20,560 --> 00:37:23,480 กำแพงหินต่ำตรงนี้ เป็นการก่อสร้างแบบอินคาทั่วไป 517 00:37:25,240 --> 00:37:28,120 แต่สิ่งที่ซ่อนอยู่โขดหินใหญ่ที่โผล่ขึ้นมา 518 00:37:28,200 --> 00:37:30,120 เป็นสิ่งที่แตกต่างออกไปโดยสิ้นเชิง 519 00:37:34,000 --> 00:37:38,520 คุณถูกดึงดูดเข้าไป ผ่านทางเดินแคบๆ 520 00:37:38,600 --> 00:37:40,160 มีเพียงความเงียบงันล้อมรอบ 521 00:37:42,360 --> 00:37:45,240 มันเกือบจะเหมือน การเข้าไปในเขาวงกตเลยครับ 522 00:37:47,040 --> 00:37:50,560 เหมือนจะเป็นเทคโนโลยีบางอย่างที่เราไม่รู้จัก 523 00:37:51,200 --> 00:37:55,080 และสร้างขึ้นด้วยเหตุผลที่เราไม่เข้าใจ 524 00:38:24,880 --> 00:38:26,960 {\an8}คำบรรยายโดย มนัสวี ศักดิษฐานนท์